กริช
กริช เป็นมีดสั้นแบบหนึ่ง ใบมีดคดแบบลูกคลื่น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะในหมู่ผู้คนในมาเลเซีย อินโดนีเซียและห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้กริชนั้นเป็นทั้งอาวุธและวัตถุมงคล บ่งบอกถึงเหตุดีร้ายในชีวิตได้ ปัจจุบันยังนิยมสะสมเป็นของเก่าที่มีคุณค่าสูง
เชื่อกันว่ากริชนั้น เริ่มมีใช้ในเกาะชวา แล้วแพร่หลายไปทั่วหมู่เกาะอินโดนีเซีย ผ่านไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ใบกริชนั้นจะคดหรือหยักเป็นลอนคลื่น เรียกว่า ลุก กริชส่วนใหญ่มีน้อยกว่า 13 หยัก และนับเลขคี่เสมอ
บันดัยสาระ คือ กริชรามัน ที่สืบทอดมาแต่สมัยโบราณ
นกพังกะ
ส่วนหัวของกริชที่ด้าม แกะสลักเป็นรูป "หัวนกพังกะ"
ซึ่งก็มีตำนานและประวัติความเป็นมายาวนาน
ปาแนซาแระห์ หรือ ปามอร์ หรือ บูฆิส ล้วนแล้วแต่เป็นเทคนิควิธีการตีใบกริช
บือซีดาวา
ใบกริช ทำจากโลหะและส่วนผสมของธาตุเหล็กหลายชนิด
* เหล็กดำ ผสม เหล็กขาว ทำให้เห็นเส้นในเนื้อเหล็กคมชัด
* แม่เหล็ก ผสมเหล็กอ่อน เป็นส่วนผสมเฉพาะ ใช้เป็นเนื้อเหล็กของกริช
* เหล็กกล้า ใช้ทำกระดูกกริช
* ทองคำ ทองเหลือง ทองแดง นาก และเงิน ผสมหลายๆชนิดรวมกันใช้เคลือบผิวกริช
กายูกานาอูน
ไม้ที่ใช้ในการประดิษฐ์ หัวกริช ด้ามกริช และฝักกริช เรียกว่า "กายูกานาอูน" เป็นไม้มะเกลือ
นอกนั้นยังมี กายูกามูนิง คือ ไม้แก้ว และ กายูปาโอะอูแด ไม้มะม่วงป่า
กริชจือรีตา
ใบกริชหรือตากริชเป็นส่วนที่มีอานุภาพร้ายแรงมาก คือส่วนมากจะเป็นโลหะ ซึ่งเป็นทั้งเครื่องประดับที่ใช้
ศิลปะชั้นสูงสอดแทรกด้วยประวัติความเป็นมาของใบกริชที่มีอานุภาพเฉพาะทาง
ใบกริชจะมีชื่อเรียกเฉพาะตัว เช่น กริชจือรีตา
ช่างจะทำรูปสลักที่ที่โคนของใบกริชเป็นรูปต่างๆเช่น ฤาษี ม้า มังกร ช้าง สิงห์ ฯลฯ ซึ่งเราจะอ่านได้เลยว่า
กริชแต่ละเล่มมี จือรีตา อะไร ใช้ทำอะไร
กริชจือรีตานี้จะมีร่องของใบกริช ซึ่งเรียกว่า ร่องลมเลือด หรือ สายธาร และจะมีเนื้อเหล็กที่แข็งแกร่งและคมมากๆ
โครงสร้างของใบกริช จะพิสดารมาก คือ จะคดทุกเล่ม
คดของกริชนี้ เรียกชื่อว่า "เลาะ" กริชจะมีกี่เลาะนั้น ตามตำนานแต่สมัยโบราณแล้วแต่ผู้สั่งทำ ไม่ว่าจะ หนึ่ง เลาะ หรือ สาม
ห้า เจ็ด เก้า
เรื่องประหลาดของกริชก็คือ กริชทุกเล่มจะมีรูปทรงไม่เหมือนกับมีด หรือ ดาบ เพราะกริชจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ ความคด
หรือ เลาะ ส่วนที่เป็นเลาะจะคดและหักมุม ซึ่งมีมุมที่กั่นกับโกร่ง เป็นมุมป้านข้างหนึ่ง และมุมแหลมอีกข้างหนึ่ง ส่วนที่เป็นมุมนี้
แหละเป็นเรื่องที่ใช้คำนวณ โดยจะบวกกับมุมฉากและมุมตรงของแขนที่จับกริชอยู่นั่นเอง
ฉะนั้น ในเมื่อแขนยืดไปข้างหน้า ทั้งมุมฉากและมุมป้านก็จะกลายเป็นมุมตรง ซึ่งตรงตามเป้าหมายที่ต้องการทุกประการ,.....คาสิโน
ตรงนี้แหละที่ขึ้นชื่อว่า กริช เป็น มหาศาสตราวุธ และ มหาศาสตราพร จริงๆ
กระบวนท่ารำกริช
เมื่อ อิเหนา-บุษบา รุ่นใหม่ สืบทอดนาฎการโบราณ
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)
________________________________________
การรำกริช เป็นศิลปะการแสดงโบราณที่เคยนิยมกันในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ผ่านมาการสืบทอดมีน้อยลงเรื่อยๆ …ตีพะลี อะตะบู ปราญช์ชาวบ้านอำเภอรามัน ได้พยายามถ่ายทอดศิลปะดังกล่าวสู่คนรุ่นใหม่…เพื่ออนุรักษ์ไว้มิให้สูญหาย….
……………………………………………………………………………………..คาสิโน
เสียงกลองแขกรัวระทึก…ชวนเร้าใจ เด็กสาววัยรุ่น 2 คนที่ยืนอยู่เบื้องหน้าเวทีขยับร่างกายเคลื่อนไหวร่ายรำไปตามจังหวะ…ดูอ่อนช้อยแต่แข็งแรง …ในขณะที่การแสดงของเด็กหนุ่มวัยรุ่นราวคราวเดียวกันออกมาแสดงศิลปะการต่อสู้ ด้วยลีลาค่อนข้างดุเดือด …เด็กหนุ่มสาวเหล่านี้อายุ 12-17 ปี กำลังเรียนอยู่ในระดับชั้นมัธยม พวกเขาเพิ่งหัด “รำกริช” ได้ไม่นานนัก แต่ก็สามารถทำได้ดีต่อหน้าผู้ชม
ตีพะลี อะตะบู หัวหน้าโครงการวิจัย การอนุรักษ์ และส่งเสริมศิลปะการทำกริชรามัน ต.ตะโลหะลอ อ.รามัน จ.ยะลา ซึ่งเป็นชุดงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำนักงานภาค (สกว.ภาค) เป็นครูผู้ฝึกสอนศิลปะการรำกริชให้กับกลุ่มเยาวชน เล่าถึงที่มาของศิลปการรำกริชว่า เป็นการประยุกต์มาจากวิทยายุทธ์ในการร่ายรำ ของช่างตีกริช ในสมัยโบราณ
การรำกริช ถือว่าเป็นกระบวนการขั้นตอนหนึ่งในการทำกริช เมื่อทำกริชเสร็จ ช่างทำกริชจะนำมาทดลองร่ายรำเพื่อทดสอบความคล่องตัวในการใช้ นอกจากนั้น การรำกริชยังถือเป็นการออกกำลังกายผ่อนคลายความเมื่อยล้าจากการทำกริชอีกด้วย โดยเฉพาะการแกะสลักหัวกริช ซึ่งเป็นงานฝีมือที่ต้องอาศัยความละเอียดประณีตสูง ช่างทำกริชจะต้องนั่งนิ่งใช้สมาธิ และใช้กำลังข้อมือเป็นเวลานาน ทำให้เมื่อยชา การรำกริช จึงเป็นการช่วยคลายกล้ามเนื้อ คลายเอ็น ทำให้ร่างกายของช่างทำกริชมีสุขภาวะที่ดี
จากท่วงท่าของช่างทำกริช การรำกริช ได้ถูกนำมาใช้เป็นการแสดงศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า ที่เรียกว่า “ซีละ” โดยมีต้นกำเนิดมาจากชวา และได้เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายของคนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งการแสดงซีละแบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ ซีละกายง ซีละตารี และซีละยาโต๊ะ
"ซีละกายง ซึ่งเป็นซีละที่เน้นแสดงการต่อสู้กันด้วยกริชประกอบท่ารำ หรือเป็นการอวดลีลากระบวนการต่อสู้ ซีละตารี เป็นการแสดงลีลาการร่ายรำในการต่อสู้ ส่วนมากใช้แสดงเฉพาะหน้าเจ้าเมืองหรือเจ้านายชนชั้นสูง ซีละยาโต๊ะ เป็นการแข่งขันที่มีกฎกติกา มีการตัดสินให้มีการแพ้-ชนะ" ตีพะลี อธิบาย
ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกริช บ้านตะโลหะรอ กล่าวว่า การรำกริช จะใช้แสดงในงานเทศกาลสำคัญ งานแก้บน งานเข้าสุหนัต หรืองานเฉลิมฉลองในโอกาสต่าง ๆ เดิมมีการสืบทอดกันต่อมาเรื่อยๆ แต่ปัจจุบันการสืบทอดศิลปะการแสดงรำกริชมีน้อยมาก ดังนั้นจึงได้พยายามถ่ายทอดศิลปะดังกล่าวสู่กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ และโรงเรียนปอเนาะศรีจะเราะห์นากอง ที่มีการสอนทำกริช อยู่เดิม โดยเพิ่งเริ่มสอนได้ไม่นานนัก
“ในการสอนรำกริชเบื้องต้นนี้ ได้กำหนดให้นักเรียน เรียนทั้งหมด 7 กระบวนท่าเรียกว่า “กระบวนท่าเจ็ดดาว” หมายถึง การก้าวเท้าไปบนดาวทั้ง 7 ในการฝึกจึงเรียกกระบวนท่ารำให้ง่ายต่อการเข้าใจ คือ ท่ามือเปล่า กริชมือเดียว กริชสองมือ ผ้า ปีกฝัก ฝักและผ้า ฝัก การรำจะเน้นท่วงท่าการก้าวย่าง และการปรับเปลี่ยนเคลื่อนย้ายวงแขน และนิ้วมือ การรำสวยไม่สวย ดูจาก การก้าวเท้าถูกดาวไหม ถ้าเหยียบดาวถูกแสดงว่ากระบวนท่าถูกต้อง ถ้าก้าวเท้าผิด เรียกว่า "ดาวตก“ อาจารย์สอนรำกริช เพิ่มเติมเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการรำกริช
ทางด้านคนรุ่นใหม่ที่ฝากตัวเป็นลูกศิษย์รำกริช กับผู้อาวุโสตีพะลี นั้น สุริยะ บาโระสะนอ และสุภาภรณ์ แซ่ไหว สองสาวจากโรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ ผู้ฝึกรำกริชถึงกระบวนท่าที่ 4 บอกถึงเหตุผลในการสมัครเรียนรำกริชว่า เดิมได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาการทำกริชมาก่อน และมีพื้นฐานด้านนาฎศิลป์อยู่แล้ว จึงสนใจเรียนรำกริชเพื่อสืบทอดศิลปะการแสดงโบราณ เพราะจากที่เรียนเรื่องกริช รู้สึกว่ามีประโยชน์ ทำให้รู้ว่า คนเมื่อก่อน โบราณเขาอยู่อย่างไร การเรียนรำกริช ช่วงเริ่มต้นยากมาก เพราะจะเน้นที่การก้าวขาที่ต้องให้ถูกดาว มั่นคง สวยงาม แต่ละท่าต้องย่อตัวค้างไว้ เป็นระยะๆ ต้องใช้กำลังขาอย่างมาก ประโยชน์จากการรำกริช คือ ได้ออกกำลังกาย และทำให้มีสมาธิ และได้เรียนรู้วิชาป้องกันตัว
ในขณะที่หนุ่มนักเรียนปอเนาะอย่าง อับดุลเลาะห์ สิหนิ กับ ฮุ แต้งะเต้าะ ซึ่งปัจจุบันเรียนรำกริชถึงกระบวนท่าที่ 5 แล้ว เล่าว่า ก่อนเรียนรำกริช พวกเขา และเพื่อนๆ เรียนทำกริชกับอาจารย์ตีพะลี มา 2 ปีแล้ว มีฝีมือการทำกริชอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้เพราะชอบภูมิปัญญาโบราณ และการรำกริช เป็นศิลปะการต่อสู้ หลังจากเริ่มเรียนได้ไม่นานทั้งสองหนุ่ม มีความปรารถนาจะเรียนซีละขั้นสูงต่อไป แม้จะต้องใช้เวลาฝึกฝนมากขึ้นก็ตาม เพราะทั้งสองคนเชื่อว่ามีประโยชน์ในการเพิ่มพลังให้กับตัวเอง เพราะเวลารำกริช ต้องเคลื่อนไหวรวดเร็ว ต้องใช้พลังมาก สุขภาพแข็งแรง และยังใช้ป้องกันตัวได้อีกด้วย
ผู้อาวุโสตีพะลี นั้นพยายามที่จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทำกริชรามันไว้ให้เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นสืบไป ที่ผ่านมาได้ทำการก่อตั้ง “กลุ่มทำกริชบ้านตะโละหะรอ” ขึ้น และได้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาฝีมือการทำกริชของสมาชิกควบคู่ไปกับการสร้างความเข้าใจต่อคุณค่า และความสำคัญ ของมรดกทางวัฒนธรรมดังกล่าว ตลอดจนพยายามถ่ายทอด องค์ความรู้การทำกริชสู่คนรุ่นใหม่ ด้วยการผลักดันให้มีการบรรจุหลักสูตรการทำกริชเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในโรงเรียน…และการสอนรำกริชก็เป็นส่วนหนึ่ง…
ดังนั้นแม้จะเป็นเพียงการเริ่มต้น ผู้อาวุโสอย่างตีพะลี ย่อมรู้สึกยินดีที่เห็นลูกศิษย์เอาจริงเอาจังกับการฝึกซ้อม …เพราะอย่างน้อยที่สุดความหวังในการสืบทอดภูมิปัญญาการทำกริชให้คงอยู่เป็นเอกลักษณ์ของรามันที่เขาตั้งไว้ ก็ได้มีการก่อรูปให้เห็นชัดเจนมากขึ้นเรื่อยๆ... บ่อนคาสิโน
เชื่อกันว่ากริชนั้น เริ่มมีใช้ในเกาะชวา แล้วแพร่หลายไปทั่วหมู่เกาะอินโดนีเซีย ผ่านไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
คาสิโนคำว่า "กริช"..
คำว่า " กริช" น่าจะถอดมาจาก "keris" ซึ่งหมายถึง "มีดสั้น" คำนี้ โบราณอีกทอดหนึ่ง คือ งริช หรือ เงอะริช หมายถึง แทง ภาษาต่างๆ ในยุโรป ใช้ว่า kris ตามมลายูใบและฝัก
ตัวกริช หรีอส่วนใบมีดนั้น มักจะเรียว และคด ส่วนโคนกว้าง ความยาวของกริชนั้นแตกต่างกันไป ไม่จำกัด ใบมีดก็ตีจากแร่เหล็กต่างๆ กัน แต่โดยมากจะมีนิกเกิลผสมอยู่ ช่างทำกริช หรือ เอมปู จะตีใบมีดเป็นชั้นๆ ด้วยโลหะต่างๆ กัน กริชบางเล่มใช้เวลาสั้น บางเล่มใช้เวลาตีนานเป็นปีๆ หรือใช้เวลาชั่วชีวิตก็มี กริชที่มีคุณภาพสูง ตัวใบมีดจะพับทบเป็นสิบๆ หรือร้อยๆ ครั้ง โดยมีความแม่นยำสูงมาก ใบมีดนั้นอาจมีรอยประทับของช่างกริช เช่นรอยนิ้วหัวแม่มือ ริมฝีปาก ในระหว่างการตีใบมีดนั้น การใช้โลหะต่างชนิดกันมาตีเป็นมีดใบเดียว ทำให้เกิดเป็นลายน้ำที่แตกต่างกัน ซึ่งเรียกว่า ปามอร์ หรือ ปามีร์ อันเป็นแนวคิดเดียวกับ เหล็กกล้า ดามัสคัส และญี่ปุ่น มีการใช้กรดกัดตัวใบมีด หลังจากตีแล้ว เพื่อให้เกิดรอยเงาและทึบบนโลหะ ...คาสิโนสำหรับแหล่งแร่เหล็กนั้นจะเป็นแหล่งแร่ที่หายากแถบมาเลเซีย หรืออินโดนีเซีย...ใบกริชนั้นจะคดหรือหยักเป็นลอนคลื่น เรียกว่า ลุก กริชส่วนใหญ่มีน้อยกว่า 13 หยัก และนับเลขคี่เสมอ
บันดัยสาระ คือ กริชรามัน ที่สืบทอดมาแต่สมัยโบราณ
นกพังกะ
ส่วนหัวของกริชที่ด้าม แกะสลักเป็นรูป "หัวนกพังกะ"
ซึ่งก็มีตำนานและประวัติความเป็นมายาวนาน
ปาแนซาแระห์ หรือ ปามอร์ หรือ บูฆิส ล้วนแล้วแต่เป็นเทคนิควิธีการตีใบกริช
บือซีดาวา
ใบกริช ทำจากโลหะและส่วนผสมของธาตุเหล็กหลายชนิด
* เหล็กดำ ผสม เหล็กขาว ทำให้เห็นเส้นในเนื้อเหล็กคมชัด
* แม่เหล็ก ผสมเหล็กอ่อน เป็นส่วนผสมเฉพาะ ใช้เป็นเนื้อเหล็กของกริช
* เหล็กกล้า ใช้ทำกระดูกกริช
* ทองคำ ทองเหลือง ทองแดง นาก และเงิน ผสมหลายๆชนิดรวมกันใช้เคลือบผิวกริช
กายูกานาอูน
ไม้ที่ใช้ในการประดิษฐ์ หัวกริช ด้ามกริช และฝักกริช เรียกว่า "กายูกานาอูน" เป็นไม้มะเกลือ
นอกนั้นยังมี กายูกามูนิง คือ ไม้แก้ว และ กายูปาโอะอูแด ไม้มะม่วงป่า
กริชจือรีตา
ใบกริชหรือตากริชเป็นส่วนที่มีอานุภาพร้ายแรงมาก คือส่วนมากจะเป็นโลหะ ซึ่งเป็นทั้งเครื่องประดับที่ใช้
ศิลปะชั้นสูงสอดแทรกด้วยประวัติความเป็นมาของใบกริชที่มีอานุภาพเฉพาะทาง
ใบกริชจะมีชื่อเรียกเฉพาะตัว เช่น กริชจือรีตา
ช่างจะทำรูปสลักที่ที่โคนของใบกริชเป็นรูปต่างๆเช่น ฤาษี ม้า มังกร ช้าง สิงห์ ฯลฯ ซึ่งเราจะอ่านได้เลยว่า
กริชแต่ละเล่มมี จือรีตา อะไร ใช้ทำอะไร
กริชจือรีตานี้จะมีร่องของใบกริช ซึ่งเรียกว่า ร่องลมเลือด หรือ สายธาร และจะมีเนื้อเหล็กที่แข็งแกร่งและคมมากๆ
โครงสร้างของใบกริช จะพิสดารมาก คือ จะคดทุกเล่ม
คดของกริชนี้ เรียกชื่อว่า "เลาะ" กริชจะมีกี่เลาะนั้น ตามตำนานแต่สมัยโบราณแล้วแต่ผู้สั่งทำ ไม่ว่าจะ หนึ่ง เลาะ หรือ สาม
ห้า เจ็ด เก้า
เรื่องประหลาดของกริชก็คือ กริชทุกเล่มจะมีรูปทรงไม่เหมือนกับมีด หรือ ดาบ เพราะกริชจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ ความคด
หรือ เลาะ ส่วนที่เป็นเลาะจะคดและหักมุม ซึ่งมีมุมที่กั่นกับโกร่ง เป็นมุมป้านข้างหนึ่ง และมุมแหลมอีกข้างหนึ่ง ส่วนที่เป็นมุมนี้
แหละเป็นเรื่องที่ใช้คำนวณ โดยจะบวกกับมุมฉากและมุมตรงของแขนที่จับกริชอยู่นั่นเอง
ฉะนั้น ในเมื่อแขนยืดไปข้างหน้า ทั้งมุมฉากและมุมป้านก็จะกลายเป็นมุมตรง ซึ่งตรงตามเป้าหมายที่ต้องการทุกประการ,.....คาสิโน
ตรงนี้แหละที่ขึ้นชื่อว่า กริช เป็น มหาศาสตราวุธ และ มหาศาสตราพร จริงๆ
กระบวนท่ารำกริช
เมื่อ อิเหนา-บุษบา รุ่นใหม่ สืบทอดนาฎการโบราณ
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)
________________________________________
การรำกริช เป็นศิลปะการแสดงโบราณที่เคยนิยมกันในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ผ่านมาการสืบทอดมีน้อยลงเรื่อยๆ …ตีพะลี อะตะบู ปราญช์ชาวบ้านอำเภอรามัน ได้พยายามถ่ายทอดศิลปะดังกล่าวสู่คนรุ่นใหม่…เพื่ออนุรักษ์ไว้มิให้สูญหาย….
……………………………………………………………………………………..คาสิโน
เสียงกลองแขกรัวระทึก…ชวนเร้าใจ เด็กสาววัยรุ่น 2 คนที่ยืนอยู่เบื้องหน้าเวทีขยับร่างกายเคลื่อนไหวร่ายรำไปตามจังหวะ…ดูอ่อนช้อยแต่แข็งแรง …ในขณะที่การแสดงของเด็กหนุ่มวัยรุ่นราวคราวเดียวกันออกมาแสดงศิลปะการต่อสู้ ด้วยลีลาค่อนข้างดุเดือด …เด็กหนุ่มสาวเหล่านี้อายุ 12-17 ปี กำลังเรียนอยู่ในระดับชั้นมัธยม พวกเขาเพิ่งหัด “รำกริช” ได้ไม่นานนัก แต่ก็สามารถทำได้ดีต่อหน้าผู้ชม
ตีพะลี อะตะบู หัวหน้าโครงการวิจัย การอนุรักษ์ และส่งเสริมศิลปะการทำกริชรามัน ต.ตะโลหะลอ อ.รามัน จ.ยะลา ซึ่งเป็นชุดงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำนักงานภาค (สกว.ภาค) เป็นครูผู้ฝึกสอนศิลปะการรำกริชให้กับกลุ่มเยาวชน เล่าถึงที่มาของศิลปการรำกริชว่า เป็นการประยุกต์มาจากวิทยายุทธ์ในการร่ายรำ ของช่างตีกริช ในสมัยโบราณ
การรำกริช ถือว่าเป็นกระบวนการขั้นตอนหนึ่งในการทำกริช เมื่อทำกริชเสร็จ ช่างทำกริชจะนำมาทดลองร่ายรำเพื่อทดสอบความคล่องตัวในการใช้ นอกจากนั้น การรำกริชยังถือเป็นการออกกำลังกายผ่อนคลายความเมื่อยล้าจากการทำกริชอีกด้วย โดยเฉพาะการแกะสลักหัวกริช ซึ่งเป็นงานฝีมือที่ต้องอาศัยความละเอียดประณีตสูง ช่างทำกริชจะต้องนั่งนิ่งใช้สมาธิ และใช้กำลังข้อมือเป็นเวลานาน ทำให้เมื่อยชา การรำกริช จึงเป็นการช่วยคลายกล้ามเนื้อ คลายเอ็น ทำให้ร่างกายของช่างทำกริชมีสุขภาวะที่ดี
จากท่วงท่าของช่างทำกริช การรำกริช ได้ถูกนำมาใช้เป็นการแสดงศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า ที่เรียกว่า “ซีละ” โดยมีต้นกำเนิดมาจากชวา และได้เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายของคนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งการแสดงซีละแบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ ซีละกายง ซีละตารี และซีละยาโต๊ะ
"ซีละกายง ซึ่งเป็นซีละที่เน้นแสดงการต่อสู้กันด้วยกริชประกอบท่ารำ หรือเป็นการอวดลีลากระบวนการต่อสู้ ซีละตารี เป็นการแสดงลีลาการร่ายรำในการต่อสู้ ส่วนมากใช้แสดงเฉพาะหน้าเจ้าเมืองหรือเจ้านายชนชั้นสูง ซีละยาโต๊ะ เป็นการแข่งขันที่มีกฎกติกา มีการตัดสินให้มีการแพ้-ชนะ" ตีพะลี อธิบาย
ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกริช บ้านตะโลหะรอ กล่าวว่า การรำกริช จะใช้แสดงในงานเทศกาลสำคัญ งานแก้บน งานเข้าสุหนัต หรืองานเฉลิมฉลองในโอกาสต่าง ๆ เดิมมีการสืบทอดกันต่อมาเรื่อยๆ แต่ปัจจุบันการสืบทอดศิลปะการแสดงรำกริชมีน้อยมาก ดังนั้นจึงได้พยายามถ่ายทอดศิลปะดังกล่าวสู่กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ และโรงเรียนปอเนาะศรีจะเราะห์นากอง ที่มีการสอนทำกริช อยู่เดิม โดยเพิ่งเริ่มสอนได้ไม่นานนัก
“ในการสอนรำกริชเบื้องต้นนี้ ได้กำหนดให้นักเรียน เรียนทั้งหมด 7 กระบวนท่าเรียกว่า “กระบวนท่าเจ็ดดาว” หมายถึง การก้าวเท้าไปบนดาวทั้ง 7 ในการฝึกจึงเรียกกระบวนท่ารำให้ง่ายต่อการเข้าใจ คือ ท่ามือเปล่า กริชมือเดียว กริชสองมือ ผ้า ปีกฝัก ฝักและผ้า ฝัก การรำจะเน้นท่วงท่าการก้าวย่าง และการปรับเปลี่ยนเคลื่อนย้ายวงแขน และนิ้วมือ การรำสวยไม่สวย ดูจาก การก้าวเท้าถูกดาวไหม ถ้าเหยียบดาวถูกแสดงว่ากระบวนท่าถูกต้อง ถ้าก้าวเท้าผิด เรียกว่า "ดาวตก“ อาจารย์สอนรำกริช เพิ่มเติมเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการรำกริช
ทางด้านคนรุ่นใหม่ที่ฝากตัวเป็นลูกศิษย์รำกริช กับผู้อาวุโสตีพะลี นั้น สุริยะ บาโระสะนอ และสุภาภรณ์ แซ่ไหว สองสาวจากโรงเรียนรามันห์ศิริวิทย์ ผู้ฝึกรำกริชถึงกระบวนท่าที่ 4 บอกถึงเหตุผลในการสมัครเรียนรำกริชว่า เดิมได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาการทำกริชมาก่อน และมีพื้นฐานด้านนาฎศิลป์อยู่แล้ว จึงสนใจเรียนรำกริชเพื่อสืบทอดศิลปะการแสดงโบราณ เพราะจากที่เรียนเรื่องกริช รู้สึกว่ามีประโยชน์ ทำให้รู้ว่า คนเมื่อก่อน โบราณเขาอยู่อย่างไร การเรียนรำกริช ช่วงเริ่มต้นยากมาก เพราะจะเน้นที่การก้าวขาที่ต้องให้ถูกดาว มั่นคง สวยงาม แต่ละท่าต้องย่อตัวค้างไว้ เป็นระยะๆ ต้องใช้กำลังขาอย่างมาก ประโยชน์จากการรำกริช คือ ได้ออกกำลังกาย และทำให้มีสมาธิ และได้เรียนรู้วิชาป้องกันตัว
ในขณะที่หนุ่มนักเรียนปอเนาะอย่าง อับดุลเลาะห์ สิหนิ กับ ฮุ แต้งะเต้าะ ซึ่งปัจจุบันเรียนรำกริชถึงกระบวนท่าที่ 5 แล้ว เล่าว่า ก่อนเรียนรำกริช พวกเขา และเพื่อนๆ เรียนทำกริชกับอาจารย์ตีพะลี มา 2 ปีแล้ว มีฝีมือการทำกริชอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้เพราะชอบภูมิปัญญาโบราณ และการรำกริช เป็นศิลปะการต่อสู้ หลังจากเริ่มเรียนได้ไม่นานทั้งสองหนุ่ม มีความปรารถนาจะเรียนซีละขั้นสูงต่อไป แม้จะต้องใช้เวลาฝึกฝนมากขึ้นก็ตาม เพราะทั้งสองคนเชื่อว่ามีประโยชน์ในการเพิ่มพลังให้กับตัวเอง เพราะเวลารำกริช ต้องเคลื่อนไหวรวดเร็ว ต้องใช้พลังมาก สุขภาพแข็งแรง และยังใช้ป้องกันตัวได้อีกด้วย
ผู้อาวุโสตีพะลี นั้นพยายามที่จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทำกริชรามันไว้ให้เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นสืบไป ที่ผ่านมาได้ทำการก่อตั้ง “กลุ่มทำกริชบ้านตะโละหะรอ” ขึ้น และได้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาฝีมือการทำกริชของสมาชิกควบคู่ไปกับการสร้างความเข้าใจต่อคุณค่า และความสำคัญ ของมรดกทางวัฒนธรรมดังกล่าว ตลอดจนพยายามถ่ายทอด องค์ความรู้การทำกริชสู่คนรุ่นใหม่ ด้วยการผลักดันให้มีการบรรจุหลักสูตรการทำกริชเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในโรงเรียน…และการสอนรำกริชก็เป็นส่วนหนึ่ง…
ดังนั้นแม้จะเป็นเพียงการเริ่มต้น ผู้อาวุโสอย่างตีพะลี ย่อมรู้สึกยินดีที่เห็นลูกศิษย์เอาจริงเอาจังกับการฝึกซ้อม …เพราะอย่างน้อยที่สุดความหวังในการสืบทอดภูมิปัญญาการทำกริชให้คงอยู่เป็นเอกลักษณ์ของรามันที่เขาตั้งไว้ ก็ได้มีการก่อรูปให้เห็นชัดเจนมากขึ้นเรื่อยๆ... บ่อนคาสิโน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น